ลักษณะเพลี้ยงแป้ง
ตัวผู้
-ตัวสีชมพูออกแดง
ขนาดพอกับตัวเมียหรือเล็กกว่า

ลำตัวยาวเหมือนเพลี้ยไฟ

มีปีก 1 คู่บินได้

หัวมีหนวด 2 เส้น
ขา 6 ขาและมีหางเหมือนตัวเมีย

สร้างขี้ผึ้งเคลือบตัวและปุยขาว
เป็นแมลงที่มีลักษณะเป็นวงรีเนื้อนิ่ม ลำตัวจะเคลือบด้วยขี้ผึ้งสีขาวหรือสีเทา ทำให้เป็นปุยขาวๆ เกาะติดกับพืชจำนวนมาก จะเกาตัวซ้อนกันเป็นกลุ่ม

วงจรชีวิตเพลี้ยแป้ง

วางไข่ 3-4 วันพักตัวอ่อน

ตัวอ่อน 4-5 วัน

ตัวเต็มวัย 15 วัน

พร้อมวางไข่ 32 วัน

สรุป วงจรเพลี้ยแป้งประมาณ 32-35 วัน ระยะไข่ถึงตัวเต็มวัย

การขยายพันธุ์เพลี้ยแป้ง

ตัวเมียสามารถวางไข่ 500-600 ฟองต่อครั้ง เมื่อวางไขเสร็จอีก 10 วันตัวเมียก็จะตายลง ไข่จะหุ้มไปด้วยรังไหม

อาหารของเพลี้ยแป้ง เพลี้ยแป้งจะดูดน้ำเลี้ยง

จากผิวใบ

ผิวผลอ่อน

ลำต้นพืช

เมื่อดูดกินน้ำเลี้ยง เพลี้ยแป้งจะปล่อยสารเหนียวออกมาทำให้เกิดเชื้อราสีดำ
เชื้อรามากับเพลี้ยแป้ง เพลี้ยแป้งเมื่อปล่อยสารเนหนียวสีดำออกมา ซึ่งจะมีน้ำตาล จะทำให้เกิดเชื้อรา (ราดำ)ซึ่งทำให้ใบสังเคราะห์แสงไม่ได้ผลไม่สวยงาม

การทำลายของเพลี้ยงแป้งทำลายที่ผล ทำลายที่ใบพืช ทำลายาที่ยอดและดอก

สารกำจัดเพลี้ยแป้ง

กลุ่ม 1 B

ไดเมโทเอต

โอเมโทเอต

ไดอะซีนอน

มาลาไทออน

พิริมิฟอส

โพรฟีโนฟอส

ไตรอะโตฟอส

สารจำกัดเพลี้ยแป้ง

กลุ่มไวต์ออยหรือปิโตรเลียมออยล์

ร้านค้าทางการ Soil Con Agro



=========================================================